ในโลกของการแข่งขันและการเปลี่
![]() |
ม.ล. ดิศปนัดดา ดิศกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ถ่
ยิ่งกว่านั้น เนื่องจากการพัฒนาต้องเกี่ยวข้ องกับหลายภาคส่วน ไม่เฉพาะแต่บุคลากรของมูลนิธิฯ การสื่อสารอย่างเป็นระบบและถี่ ถ้วนจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคั ญ โดยเฉพาะกับชุมชนที่เป็นผู้มีส่ วนได้ส่วนเสียโดยตรง ม.ล. ดิศปนัดดา ได้ยกตัวอย่างบิดา หรือม.ร.ว. ดิศนัดดา ดิศกุล อดีตเลขาธิการของมูลนิธิฯ ที่ใช้วิธีการสื่อสารอย่างไม่ข้ ามขั้นตอน เพื่อให้ทุกคนเข้าใจตรงกัน ตลอดจนแนวทาง ‘การพาทำ’ แทนการสั่งงาน เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ ที่แท้จริง “พ่อสอนเสมอว่าการทำงานต้องเป็ นขั้นเป็นตอน ต้องมีตัวชี้วัดที่ชัดเจน เมื่อมีการสื่อสารอย่างมี กระบวนการที่ดี ก็จะช่วยให้เกิดความเข้ าใจและสามารถส่งต่อวิสัยทัศน์ ขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิ ภาพ”
ในด้านการสร้างความต่อเนื่ องและเป็นสถาบัน (Institutionalized) ม.ล. ดิศปนัดดา ได้กล่าวถึงการทำให้องค์กรมี การกำกับดูแลและบริหารจัดการที่ ดี แยกหมวดธุรกิจออกจากกันอย่างชั ดเจน และหาคนที่มีความเชี่ ยวชาญเฉพาะด้านมาดำเนินธุรกิจ “คนๆ เดียวไม่สามารถเก่งได้ในทุกมิติ และหากเกิดอะไรขึ้นกับผู้นำ คนที่เหลือต้องพาองค์กรต่อไปได้ หากไม่มีเรา องค์กรต้องไม่เสียหาย ความซื่อสัตย์และความน่าเชื่อถื อของสถาบันต้องไม่เสียหาย พ่อสอนเสมอว่าเราต้องทำงานให้ เราตกงานได้ คือเราไม่อยู่ก็ไม่กระทบถึงองค์ กร”
ด้านนางสาวนาลิวัน คุวานันท์ รักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท โค้วยู่ฮะ อีซูซุเซลส์ จำกัด กล่าวถึ
“เราต้องคอยเตือนตัวเองว่า ธุรกิจของเราไม่ใช่แค่ธุรกิ จขายรถและซ่อมรถ แต่มันคือธุรกิจที่ช่วยสร้ างอาชีพให้กับคน สร้างความฝันให้กับครอบครัว รถของเรามีความหมายมีคุณค่ากั บคนหนึ่งคนมากกว่าแค่ซื้ อมาขายไป มีความหมายต่อเศรษฐกิจประเทศ และสิ่งสำคัญที่สุดในการบริ หารธุรกิจครอบครัวคือการหาสมดุ ลระหว่างสิ่งที่เราต้องการทำกั บสิ่งที่องค์กรต้องการ และต้องคำนึงถึ งผลกระทบในระยะยาวมากกว่ าความสำเร็จระยะสั้น”
นางสาวนาลิวันยังสร้างคุณค่ าและความรักในสิ่งที่ทำผ่ านการทำงานส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการดำเนินงานด้านมู ลนิธิของครอบครัวที่เน้นการสร้ างศักยภาพให้กับคนในอุ ตสาหกรรมยานยนต์ รวมถึงสร้างชุ มชนบนโซเชียลมีเดียที่ถ่ ายทอดให้คนเห็นถึงวิถีชีวิ ตของการเป็น Trucker หรือ “นักบรรทุก” ในรูปแบบใหม่ๆ และให้คนในอุตสาหกรรมยานยนต์ได้ มีพื้นที่แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมุมมองกัน
“เราสร้าง Trucker Culture ซึ่งเป็นช่องทางบนโซเชียลมีเดี ยขึ้นมา เพื่อให้คนมาแชร์เรื่ องราวประสบการณ์ โดยคำว่า Trucker ไม่ได้จำกัดความว่าเป็นอาชี พคนขับรถบรรทุก แต่เป็นคนที่บรรทุกเรื่ องราวความฝัน ช่วยเปิดโอกาสให้ได้เชื่อมโยงกั บลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสียได้ กว้างขึ้น สร้างความสุขในการทำงาน นอกจากนี้ เรายังมีมูลนิธิเพื่อดูแลพนั กงาน โดยวัตถุประสงค์คืออยากยกระดั บอาชีพช่างยนต์ในภาคอีสาน ให้สามารถเป็นผู้ประกอบการได้ เราเน้นเรื่องการสร้างคน โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับธุรกิจเรา โดยเราทำทั้งมูลนิธิ โรงเรียน และศูนย์อบรมบ่มเพาะ”
ด้านการสืบทอดธุรกิจ นางสาวนาลิวัน กล่าวว่า “สองหลักสำคัญคือ หนึ่ง การสื่อสารถึงทิศทางและเป้ าหมายการทำงานที่ชัดเจน และสอง คนรุ่นใหม่ขับเคลื่อนด้วยคุณค่ าการทำงาน ดังนั้นถ้าจะให้ธุรกิจขับเคลื่ อนได้อย่างยั่งยืน จำเป็นต้องหาว่าสิ่งที่คุณรักคื ออะไร และใส่มันเข้าไปในธุรกิจ”
ท้ายที่สุด การสืบทอดธุรกิจครอบครัวไม่ใช่ เพียงการส่งต่อทรัพย์สิน แต่คือศิลปะแห่ งการผสมผสานความมั่งคั่ง ความรู้ และคุณค่าทางสังคม เพื่อให้ธุรกิจดำเนินต่อไปอย่ างมั่นคงและยั่งยืนในทุกยุคสมัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น