(กรุงเทพฯ, 21 พฤษภาคม 2568) – เวียตเจ็ทไทยแลนด์ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) สถาบันอุดมศึกษาที่มีความโดดเด่
พิธีลงนามจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ โดยมีคณะผู้บริหารระดับสูง อาจารย์ และผู้แทนจากทั้งสององค์กรเข้ าร่วมเป็นสักขีพยาน สะท้อนถึงความมุ่งมั่นและความตั้ งใจร่วมกันในการพัฒนาทรั พยากรมนุษย์ด้านการบินอย่างเป็ นระบบและยั่งยืน
พันธกิจหลักของความร่วมมือครั้ งนี้ คือ การพัฒนาหลักสูตรและการฝึ กอบรมร่วมกัน การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เข้ าร่วมฝึกงานกับสายการบินฯ เพื่อเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ตลอดจนการใช้ทรัพยากรการเรียนรู้ ร่วมกัน เช่น อุปกรณ์ฝึกจำลองสถานการณ์การบิน และเครื่องมือฝึกอบรมที่ใช้ ในการพัฒนาทักษะของพนักงานต้ อนรับบนเครื่องบิน ทั้งหมดนี้จะช่วยเพิ่มพูนทั กษะเชิงปฏิบัติให้แก่นักศึกษา และเตรียมความพร้อมเข้าสู่ สายงานด้านการบินอย่างมีประสิ ทธิภาพ
นาย Alvin Liaw Tse Hou รองประธานฝ่ายมาตรฐานความปลอดภั ยและผู้อำนวยการฝ่ายความปลอดภัย คุณภาพและมาตรฐานองค์กร เวียตเจ็ทไทยแลนด์ กล่าวว่า “ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็ นอีกหนึ่งก้าวที่มีความหมายอย่ างยิ่งในการวางรากฐานเพื่อพั ฒนากำลังคนคุณภาพให้แก่อุ ตสาหกรรมการบินของไทย ในยุคที่เทคโนโลยีและความเปลี่ ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ความรู้เฉพาะทางและทักษะเชิงลึ กจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่บุ คลากรในภาคการบินต้องมี การได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์ (DPU) ถือเป็นโอกาสสำคัญที่เราจะได้ ลงทุนในทรัพยากรมนุษย์อย่างแท้ จริง ไม่เพียงเพื่อเตรียมพร้อมสู่ ความท้าทายในอนาคต แต่ยังสะท้อนถึงความตั้ งใจของเวียตเจ็ทไทยแลนด์ในการมี ส่วนร่วมขับเคลื่อนการเติ บโตของอุตสาหกรรมการบินไทยอย่ างมั่นคงและยั่งยืน”
นาย Alvin Liaw Tse Hou รองประธานฝ่ายมาตรฐานความปลอดภั
ความร่วมมือดังกล่าวถือเป็นอี กหนึ่งก้าวสำคัญของเวียตเจ็ ทไทยแลนด์ ในการขับเคลื่อนพันธกิจด้ านการส่งเสริมและพัฒนาบุ คลากรภาคการบินภายในประเทศ โดยเน้นการร่วมมือกับสถาบั นการศึกษาชั้นนำ เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่ตรงตามความต้ องการของอุตสาหกรรมอย่างแท้จริง
ในขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ยั งคงเดินหน้าตอกย้ำพันธกิ จในการเตรียมบัณฑิตให้พร้ อมทำงานในอุตสาหกรรมการบินอย่ างมีประสิทธิภาพ ด้วยการสร้างเครือข่ายความร่ วมมือกับองค์กรภาคเอกชน เพื่อเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ จากสถานการณ์จริง และยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ ระดับสากล
ความร่วมมือนี้ยังสอดคล้องกั บเป้าหมายของประเทศไทยในการพั ฒนากำลังคนอย่างมีคุ ณภาพในสาขาการบิน ซึ่งเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมศั กยภาพของประเทศ และยังสามารถเป็นต้นแบบของการจั บมือระหว่างภาคการศึ กษาและภาคเอกชน ที่สามารถนำไปต่ อยอดและขยายผลในอนาคตเพื่ อยกระดับศั กยภาพแรงงานไทยในระยะยาว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น