ทำไมคนญี่ปุ่นถึงอายุยืน?
ข้อเท็จจริงที่ว่าคนญี่ปุ่นมี อายุขัยยืนยาวที่สุดในโลก โดยคนญี่ปุ่นมักใช้ชีวิตไปพร้ อมๆ กับการรักษาสุขภาพให้ดีกว่ าชนชาติอื่นเมื่อเข้าสู่วัยผู้ สูงอายุ ข้อเท็จจริงนี้มีการบันทึกไว้ เป็นอย่างดี ซึ่งการมีชีวิตที่ยืนยาวเป็นหนึ่ งในสิ่งที่เรามุ่งเน้นและได้พู ดคุยไปในจดหมายข่าวฉบับที่ 5 และฉบับที่ 8 “บริษัท Ajinomoto Co. จะสามารถส่งต่อวิถีชีวิตยื นยาวแบบญี่ปุ่นได้หรือไม่?”.
หลายทฤษฎีพยายามค้นหาคำตอบว่ าเป็นเพราะอาหารที่คนญี่ป่นรั บประทาน? เป็นเพราะกรรมพันธุ์? เป็นเพราะแนวโน้มสังคมคนญี่ปุ่ นมีความใกล้ชิดกันมาก มีการช่วยเหลือระหว่างคนในสั งคมและครอบครัวสำหรับผู้ที่สุ ขภาพไม่แข็งแรง? หรือบางทีอาจเป็ นเพราะการออกกำลังกาย1? คำถามนี้เป็นคำถามที่น่าค้ นหาคำตอบอย่างยิ่ง เนื่องจากเราทราบกันดีว่าคนญี่ ปุ่นมีชื่อเสียงเรื่องความเครี ยดในชีวิตประจำวันสูง ทำงานหลายชั่วโมงต่อวัน และมีอัตราการสูบบุหรี่และดื่ มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูง
ปัจจัยหนึ่งที่เราทราบแน่นอนว่ าส่งเสริมสุขภาพที่ดีของคุณญี่ ปุ่นในวัยสูงอายุคือ ระบบดูแลสุขภาพ โดยเฉพาะการตรวจสุขภาพเป็นประจำ แน่นอนว่าการตรวจสุขภาพเป็ นประจำนั้นมีอยู่ทั่วโลก แต่ในญี่ปุ่นจัดให้มีการตรวจสุ ขภาพสำหรับนักเรียนทุ กคนในโรงเรียน ในที่ทำงาน และในระบบดูแลสุขภาพทั่วไปสำหรั บชุมชนและในรัฐบาลท้องถิ่น ขณะที่ในประเทศอื่น ๆ การตรวจสุขภาพนั้น มักกระทเมื่อผู้คนรู้สึกว่าต้ องมีการตรวจสุขภาพ ในทางกลับกันการตรวจสุขภาพเป็ นเรื่องปกติในญี่ปุ่น แน่นอนว่าผลของการตรวจพบโรคตั้ งแต่เนิ่น ๆ และปัญหาสุขภาพด้านอื่น ๆ จะช่วยให้คนในสังคมมีสุขภาพดีขึ้ น
§ Kenkoshindan: การตรวจสุขภาพเป็นประจำในญี่ปุ่ น
ผลวิจัยทางสถิติดูเหมือนจะสนั บสนุนแนวคิดนี้ ยกตัวอย่างเช่น ประเทศญี่ปุ่นใช้งบประมาณเพียง 10% ของ GDP ในการดูแลสุขภาพ ขณะที่ประเทศสหรัฐอเมริกาที่ ใช้งบประมาณมากกว่าถึง17% และทั้งๆ ที่มีการใช้งบประมาณน้อยกว่า แต่กลับพบว่าอัตราผู้มีสุขภาพดี และอายุขัยยืนยาวนั้นกลับสูงที่ สุดในโลก1
§ การลงทุนด้านสุขภาพ: ญี่ปุ่นเทียบกับสหรัฐอเมริกา
*1: รวมค่าใช้จ่ายของรัฐและค่าใช้จ่ ายของเอกชน
แต่ยังพอมีโอกาสที่จะสามารถพั ฒนาให้ดีขึ้นไปอีกได้
อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ที่ญี่ปุ่นประสบความสำเร็ จในการตรวจสุขภาพอย่างแพร่ หลายนี้ แต่ระบบก็ยังไม่สมบูรณ์แบบ ยังมีส่วนที่สามารถพัฒนาปรับปรุ งให้ดีขึ้นได้ นั่นคือ การตรวจหามะเร็ง ในปี พ.ศ. 2559 มีผู้ชายประมาณ 40% ถึง 50% และผู้หญิงประมาณ 30% ถึง 40% เท่านั้นที่เข้ารับการทดสอบเพื่ อตรวจหามะเร็งทั่วไป2 และจริง ๆ แล้วอัตรานี้ยัง ต่ำกว่า ในประเทศอื่น3
ทำไม? เหตุผลยังไม่ชัดเจนนัก แต่เป็นไปได้ว่ามีปัจจัยต่าง ๆ เช่น เวลา ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม การขาดความรู้สึกถึงความจำเป็ นในการตรวจ และความกลัวที่จะทราบว่ าตนอาจอยู่ในกลุ่มเสี่ยง
การตรวจหามะเร็งตั้งแต่เนิ่น ๆ นั้นสามารถเพิ่มอัตราการรอดชีวิ ตได้มากกว่า 5 ปี ซึ่งการตรวจหามะเร็งตั้งแต่เนิ่ น ๆ ไม่ได้สำคัญเฉพาะสำหรับบุคคลที่ ตรวจเท่านั้น แต่ยังสำคัญกับสังคมโดยรวมด้วย ศูนย์มะเร็งแห่งชาติของญี่ปุ่ นคาดการณ์ว่ามีผู้เสียชีวิ ตประมาณ 300,000 ราย เนื่องจากมะเร็งในแต่ละปี นั่นหมายความว่ามี 300,000 ครอบครัวที่ต้องทุกข์ทรมานกั บการสูญเสียคนที่รักไปเนื่ องจากมะเร็ง5 และเมื่อพูดถึงประสิทธิ ภาพในการทำงานแล้ว คาดว่ามีการสูญเสียรายได้ จากการลาป่วยอันเกี่ยวเนื่องกั บมะเร็งกว่า 9.5 ล้านล้านเยน (เกือบ 8.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ)6.
§ อัตราการรอดชีวิต 5 ปีสำหรับมะเร็งระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 4
AminoIndex TM การตรวจหามะเร็ง: ตอบโจทย์ความต้องการที่ยังไม่ ได้รับการตอบสนอง
นี่เป็นเหตุผลที่แสดงอย่างชั ดเจนว่าทำไม Ajinomoto Co., Inc. (“บริษัท Ajinomoto”) ถึงได้พัฒนา AminoIndexTM การตรวจหามะเร็ง (AICSTM) ขึ้นมา เนื่องจากประวัติอั นยาวนานของเราในการวิจัยเกี่ ยวกับกรดอะมิโน เราเข้าใจถึงสมดุลความเข้มข้ นของกรดอะมิโนในเลือดที่มี การเปลี่ยนแปลงซึ่งสะท้อนถึงสุ ขภาพของบุคคลหนึ่ง ๆ และนำไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยี การตรวจหามะเร็งอย่างง่าย สามารถเพิ่มความเป็นไปได้ ในการตรวจจับมะเร็งไปพร้อมกั บการใช้วิธีทดสอบเพื่ อตรวจหามะเร็งวิธีอื่น ๆ
AICSTM เป็นเทคโนโลยีที่ใช้งานง่ ายสำหรับทั้งแพทย์และผู้ป่วย ซึ่งใช้เลือดจากผู้ป่วยเพียง 5 มิลลิลิตรในการพบแพทย์หนึ่งครั้ ง ในผู้ชายจะเป็นการตรวจหามะเร็ งกระเพาะอาหาร มะเร็งปอด มะเร็งลำไส้ มะเร็งตับอ่อน และมะเร็งต่อมลูกหมาก ขณะที่ในผู้หญิงจะเป็ นการตรวจหามะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งปอด มะเร็งลำไส้ มะเร็งตับอ่อน มะเร็งเต้านม และมะเร็งมดลูก และมะเร็งรังไข่
ซึ่งจะเป็นการวิเคราะห์ความเข้ มข้นของกรดอะมิโนจำนวน 19 ชนิด ตามฐานข้อมูลประวัติผู้ป่วยที่ มีอยู่นั้น เราทราบถึงข้อมูลความเข้มข้ นปกติของกรด อะมิโนในภาวะปกติของบุคคลหนึ่ง ๆ ซึ่งเป็นข้อมูลเฉพาะสำหรับมะเร็ งแต่ละชนิด ได้รับการทดสอบในการเปรียบเที ยบข้อมูลเฉพาะของผู้ป่วยกั บฐานข้อมูลดังกล่าว เราสามารถตรวจหามะเร็งได้อย่ างมีประสิทธิภาพ
§ ข้อมูลความเข้มข้นของกรดอะมิ โนเปลี่ยนเมื่อสภาวะสุขภาพเปลี่ ยน
ที่มา: ดัดแปลงจากหนังสือ Ajinomoto Group Sustainability ปี 2561
ข้อมูลความเข้มข้นของกรดอะมิ โนที่เปลี่ยนไปเป็นสาเหตุที่ก่ อให้เกิดอาการป่วยได้ มากมายหลายประเภท ไม่ใช่แค่มะเร็ง ผลลัพธ์คือ บริษัท Ajinomoto ได้พัฒนา AminoIndexTM การตรวจหาโรคที่มากับการใช้ชีวิ ตในปัจจุบัน (AILSTM), ซึ่งใช้เทคโนโลยีที่สำคัญเดี ยวกันนี้เพื่อตรวจหา “โรคที่มากับการใช้ชีวิตในปัจจุ บัน” เช่น โรคเบาหวาน ปัจจุบันเรากำลังทำการวิจัยด้ านการรักษาที่ AILSTM จะเข้ามามีประโยชน์
การเริ่มต้นที่ดี
เป็นที่ทราบกันดีว่าระบบสุ ขภาพในแต่ละประเทศนั้นต่างกัน ในบางประเทศเช่น เปรู มีช่องว่างระหว่างในเมืองกั บชนบทอย่างเห็นได้ชัดเกี่ยวกั บเครื่องมือการตรวจหาและคั ดกรองโรคมะเร็ง รวมถึงความแตกต่างกั นในโรงพยาบาลของรัฐกั บโรคพยาบาลเอกชนด้วย ในประเทศอื่น ๆ รวมถึงสิงคโปร์ มีการเร่งพัฒนาเครื่องมื อการแพทย์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เพื่อตอบสนองกับจำนวนผู้ป่ วยมะเร็งที่เพิ่มสูงขึ้น และดูเหมือนว่าประเทศอื่น ๆ ในโลกนี้ ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศส ต่างหันมาให้ความสนใจในการป้ องกันโรคมะเร็งเพื่อหลีกเลี่ ยงความเสียหายรุนแรงที่นำมาสู่ ครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นด้านสุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตใจ การเงิน
เมื่อเปรียบเทียบกั บการตรวจหามะเร็งด้วยวิธีอื่น ๆ แล้ว พบว่า AICSTM เป็นวิธีค่อนข้างใหม่ และปัจจุบันได้มีการศึกษาวิจั ยในญี่ปุ่นเท่านั้น อย่างไรก็ตาม มีชาวญี่ปุ่นกว่า 150,000 คนได้เข้ารับการทดสอบ และเราคาดว่าจะมีผู้เข้ารั บการทดสอบอีกหลายแสนคนในปีต่อ ๆ ไป
ยิ่งไปกว่านั้น บริษัท Ajinomoto หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสามารถช่ วยเหลือประเทศอื่น ๆ ในการนำเทคโนโลยี AIRSTM ไปใช้เพื่อตอบสนองความต้ องการของแต่ละคน เพราะเราถือว่าภารกิจนี้เป็ นความรับผิดชอบของเราขณะที่ เรามุ่งเน้นช่วยเหลือผู้คนทั่ วโลกที่ต้องการแสวงหาชีวิตที่ยื นยาวและมีสุขภาพดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น